ท่องเที่ยว

พังงา

หาดนางทอง

Image source      หาดนางทอง ตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาหลัก-ลำรู่ หาดนางทอง ตำบลคึกคัก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงาเป็นชายหาดที่ยาวต่อเนื่องมาจากหาดเขาหลัก หาดนางทองเป็นหนึ่งในชายหาดที่สวยงามแห่งหนึ่งของพังงา ด้านขวามือของชายหาดมีลักษณะเป็นหาดทรายดำซึ่งมีเพียงไม่กี่แห่งบนโลก อีกทั้งยังเชื่อมโยงกับยุคประวัติศาสตร์ของการทำเหมืองแร่ในพังงา ทรายจะมีเนื้อเนียนละเอียดจนเกือบเป็นโคลนสีดำ ทำให้เป็นที่กล่าวขานถึงความแปลกของหาดทรายที่นี่และขนานนามว่า “หาดทรายสีดำ” ทรายสีดำที่ว่านี้คือแร่ดีบุกที่มีอยู่มากในบริเวณนี้ยาวไปตลอดแนวชายหาดของอำเภอตะกั่วป่า ในอดีตหาดทรายแห่งนี้จะมีคลื่นซัดแร่ดีบุกขึ้นมา ชาวบ้านจะตักมากองรวมกันก่อนจะนำใส่รางและล้างน้ำเพื่อแยกเอาทรายทะเลที่มีน้ำหนักเบากว่าออกให้เหลือเพียงแต่สีดำ ก่อนจะนำไปแยกเอาแร่ดีบุกออกมาขาย […]

พังงา

เกาะไข่แมว

Image source         เกาะไข่แมวหรือเกาะไข่ในอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของ เกาะยาวใหญ่ และตะวันออกเกาะไข่นอก ขึ้นอยู่กับตําบลพรุใน อําเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา สาเหตุที่เรียกเกาะใข่แมวเพราะมีคนมาปล่อยแมวให้อาศัยอยู่บนเกาะแล้วออกลูกออกหลานเป็นจำนวนมาก  เกาะไข่แมวหรือเกาะไข่ในเป็นหนึ่งในจำนวนสามเกาะ คือเกาะไข่นอก เกาะไข่ใน เกาะไข่นุ้ย ของจังหวัดพังงา  เกาะไข่แมวหรือเกาะไข่ มีหาดทรายขาวละเอียดสะอาด

ปัตตานี

มัสยิดกลางปัตตานี

Image source         มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี ตั้งอยู่ที่ถนนยะรัง ตำบลอาเนาะรู อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มีพื้นที่กว้าง 3 ไร่ 55 ตารางวา เรียกอีกชื่อหนึ่ง “ทัชมาฮาลเมืองไทย” เป็นมัสยิดที่สวยที่สุดในประเทศไทย สร้างขึ้นในปี

ปัตตานี

วัดช้างให้ราษฎร์บูรณาราม

Image source       วัดช้างไห้ หรือวัดราษฎร์บูรณะ ตั้งอยู่ที่ตำบลควนโนรี อำเภอโคกโพธ์ เป็นวัดเก่าแก่สร้างมาแล้วกว่า 300 ปี วัดช้างให้ ถือว่าเป็นวัดต้นตำรับของหลวงปู่ทวด เพราะท่านเป็นเจ้าอาวาสองค์แรกของวัดและอัฐของท่านก็ถูกบรรจุไว้ที่วัดแห่งนี้ วัดช้างให้จึงกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวขึ้นชื่อและเป็นอีกหนึ่งสัญลักษณ์ของจังหวัดปัตตานี ที่มีนักท่องเที่ยวเข้ามากราบสักการะหลวงปู่ทวดอย่างไม่ขาดสาย ที่เรียกว่าเมื่อมาถึงปัตตานีดินแดนแห่งปลายด้ามขวานแล้วต้องแวะมาให้ได้ Image source

พัทลุง

อุทยานนกน้ำทะเลน้อย

Image source           แหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดพัทลุงที่มีชื่อเสียงมากที่สุด คืออุทยานนกน้ำทะเลน้อย ซึ่งเป็นอุทยานนกน้ำใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ราชการได้ประกาศเป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2518 แต่คนทั่วไปมักเรียกกันว่า “อุทยานนกน้ำทะเลน้อย” นับเป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าแห่งแรกของประเทศไทยสังกัดกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพรรณพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

พัทลุง

หลาดใต้โหนด

Image source       หลาดใต้โหนดหรือตลาดใต้โหนดเป็นตลาดท้องถิ่นจัดขึ้นในพื้นที่ของบ้านนักเขียนกวีซีไรต์  ณ บ้านเกิดของคุณกนกพงศ์ สงสมพันธุ์ แนวคิดของการจัดตลาดนี้เกิดเพราะมีพื้นที่ว่างในบริเวณใกล้กับบ้านนักเขียน จึงเกิดแนวคิดที่จักทำตลาดขึ้น  ซึ่งช่วงแรก ๆ ก็จะเป็นการจ้างแม่ค้า ให้เก็บผักข้างบ้านมาขายและให้ค่าน้ำมันแม่ค้า ช่วงแรก ๆ ไม่มีใครกล้าที่จะลงทุนมาขายของในตลาดเพราะเป็นตลาดเพิ่งเปิด แต่เวลาผ่านไปไม่นาน  ก็ได้ประสานงานกับผู้ใหญ่บ้านให้เชิญกลุ่มแม่บ้านในชุมชน

ชุมพร

เกาะพิทักษ์

Image source           เกาะพิทักษ์ เป็นในทะเลอ่าวไทย ตั้งอยู่ที่หมู่ 13 ตำบลบางน้ำจืด อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เดิมเรียกว่า “เกาะผีทัก” เนื่องจากสมัยก่อนมีชาวประมงออกเรือหาปลามาถึงบริเวณเกาะนี้ เล่ากันว่าเมื่อมองขึ้นฝั่งจะเห็นเงาคนกำลังกวักมือเรียก แต่พอเข้าไปใกล้ ๆ

ตรัง

หาดปากเมง

Image source         หาดปากเมง ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลไม้ฝาด อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง อยู่ในความดูแลของอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม หาดปากเมงเป็นหาดแห่งหนึ่งที่ขึ้นชื่อและเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับนิยมของจังหวัดตรัง ได้ชื่อว่าเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งแรก ๆ ที่ผู้คนมักคิดถึงและไปท่องเที่ยวกัน โดยอยู่ห่างตัวอำเภอเมืองตรังไปประมาณ 35 กิโลเมตร เป็นชายหาดรูปพระจันทร์เสี้ยว บริเวณชายหาดเวลาน้ำลง

ตรัง

ตุ๊กตุ๊กหัวกบ

Image source            รถตุ๊กตุ๊กหัวกบ คือเสน่ห์ของการเดินทางท่องเที่ยวของเมืองตรัง ที่ดึงนักท่องเที่ยวให้มาทดลองนั่งชมเมืองด้วยเสียงดังของเครื่องยนต์ที่ได้ยินมาแต่ไกลใคร ๆ ก็รู้แล้วว่านี่คือเสียงของรถตุ๊กตุ๊กหัวกบ อันเป็นเอกลักษณ์ที่คนตรังสัมผัสรู้ บางคันก็จะมีการตกแต่งด้วยแสงสีเสียงภายนอกและภายใน เพื่อสร้างสีสันให้ดูสวยงามและถูกใจโดยเฉพาะวัยรุ่นที่ชอบความสนุกสนาน และเพื่อทันสมัย แปลกตา ตื่นเต้น และเร้าใจแก่ผู้โดยสาร ที่ได้นั่งและมาเยือนเมืองตรัง

ตรัง

สถานีรถไฟกันตัง

Image source          สถานีรถไฟกันตัง มีที่มาจากโครงการก่อสร้างทางรถไฟสายใต้ต่อจากเพชรบุรีไปถึงมลายูใน ปี พ.ศ. 2453 ของพระบาทสมเด็จพระจุลเกล้าเจ้าหัวอยู่ (รัชกาลที่ 5) ไม่ทันได้เริ่มก่อสร้างพระองค์ทรงสวรรคตเสียก่อน ต่อมาก็เริ่มก่อสร้างต่อในปี พ.ศ. 2454 สมัยรัชกาลที่ 6

Scroll to Top